Facebook
Twitter
LINE

สำหรับนิยามของ Flag Carrier หรือสายการบินประจำชาติที่ยกมานี้ จะมีทั้งที่รัฐถือหุ้นทั้งหมด รัฐถือหุ้นบางส่วน หรือปัจจุบันรัฐไม่ได้ถือหุ้นอยู่เลย

แต่เนื่องจากสายการบินบางแห่ง แม้รัฐจะไม่ถือหุ้นแต่ก็ถือได้ว่าเป็น “ตัวแทน” ของชาตินั้นๆ

ยกตัวอย่างเช่น..

Lufthansa ที่รัฐบาลขายหุ้นทิ้งจนหมดตั้งแต่ปี 1997 แล้ว

Japan Airlines ที่รัฐไม่ได้ถือหุ้นตั้งแต่ปี 1987 แต่ยังคงถูกมองว่าเป็นสายการบินประจำชาติญี่ปุ่นอยู่

 

นอกจากนี้ ทั้ง 10 สายการบินที่ยกมา จะเน้นไปยังสายการบินที่ได้รับรางวัลเป็นอันดับต้นๆ ในการจัดอันดับสายการบินยอดเยี่ยมโดย Skytrax ในปี 2019

เช่น Qatar Airways ที่คว้ารางวัลอันดับ 1

หรือ Qantas, Lufthansa และการบินไทย ที่ได้อันดับ 7 8 9 ตามลำดับ

ซึ่งน่าจะทำให้ได้สายการบินที่อยู่ในกลุ่ม “ใกล้เคียงกัน” มากที่สุดในการเปรียบเทียบด้านต่างๆ

สายการบินแต่ละแห่งสามารถทำผลงานได้ดีเพียงใด?? มีจำนวนพนักงาน ผู้โดยสาร หรือเครื่องบินที่ใช้ดำเนินงานมากแค่ไหน ติดตามข้อมูลได้ในภาพเลยครับ…

 

10 สายการบินประจำชาติ ทำผลงานได้ดีแค่ไหนในปี 2019 !?สำหรับนิยามของ Flag Carrier หรือสายการบินประจำชาติที่ยกมานี้…

โพสต์โดย Billion Mindset – แนวคิดพันล้าน เมื่อ วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม 2020

 

 

ติดตาม Billion Mindset ได้ในหลากหลายช่องทาง

– เริ่มจากช่องทางใหม่ล่าสุด อินสตาแกรม https://www.instagram.com/billionmindset.ig/

– ตามต่อในทวิตเตอร์ https://twitter.com/Billion_Twit

– ติดตามเพจ Billion Mindset – แนวคิดพันล้าน อย่าลืมตั้งค่า See First เพื่อไม่ให้พลาดทุกโพสต์ใหม่นะครับ!!

Advertisement

แสดงความคิดเห็น...